รายการบทเรียน
หินและซากดึกดำบรรพ์
หินเป็นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย แร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถจำแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท
ตัวอย่างหิน (สัปดาห์ที่ 2)
0/1
ทดสอบความรู้ (สัปดาห์ที่ 3 )
0/1
ซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4 )
0/1
การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4)
0/1
ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 5)
0/1
ลม และเครื่องบอกทิศทางลม (สัปดาห์ที่ 6)
0/1
ลมบก ลมทะเล (สัปดาห์ที่ 7)
0/1
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ผลของลมบก ลมทะเล และลมมรสุม (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย (สัปดาห์ที่ 10)
0/1
การกัดเซาะชายฝั่ง (สัปดาห์ที่ 12)
0/1
การเกิดอุปราคา (สัปดาห์ที่ 14)
0/2
การเกิดปรากฏกาณ์สุริยุปราคา (สัปดาห์ที่ 15)
0/2
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 16)
0/1
ประโยชน์ของเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 17)
0/1
Lesson: ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย
About Lesson

          ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disaster) คือ ภัยอันตรายที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้างต่อชีวิตและทรัพย์สิน ต่อสภาพความเป็นอยู่ เศรษฐกิจตลอดจนสิ่งแวดล้อมโดยรวม ภัยพิบัติทางธรรมชาติได้แก่ ธรณีพิบัติภัย อุทกภัย วาตภัยหรือภัยทางสภาพอากาศ อัคคีภัยและภัยพิบัติจากอวกาศ

         ธรณีพิบัติภัย (Geological Disasters) เป็นภัยที่เกิดจากพื้นดิน หรือใต้แผ่นเปลือกโลก เช่น แผ่นดินไหว (Earthquake) ดินถล่ม (Landslide) หิมะถล่ม (Avalanche) หลุมยุบ (Sinkhole) ภูเขาไฟระเบิด (Volcanic Eruption) ธรณีพิบัติภัยเป็นภัยธรรมชาติที่รุนแรงมาก ยากที่จะป้องกันหรือหลีกหนีได้ทัน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด นอกจากชีวิตของสิ่งมีชีวิตนับไม่ถ้วนจะต้องสูญเสียไปแล้ว สภาพภูมิประเทศยังเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากอีกด้วย เทือกเขาสูง ๆ ของโลกใบนี้ ก็เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก แผ่นดินไหว และภูเขาไฟปะทุในครั้งบรรพกาล ถึงแม้ว่าจะก่อความเสียหายอย่างมากมาย แต่ภายหลังจากเหตุการณ์สงบลง เถ้าถ่านและแร่ธาตุจากลาวาที่ไหลออกมาก็มอบความอุดมสมบูรณ์คืนแก่ผืนดิน ให้เหล่าสิ่งมีชีวิตที่เหลือรอดได้ใช้ประโยชน์

Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หินและซากดึกดำบรรพ์
หินเป็นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย แร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถจำแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท
ตัวอย่างหิน (สัปดาห์ที่ 2)
0/1
ทดสอบความรู้ (สัปดาห์ที่ 3 )
0/1
ซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4 )
0/1
การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4)
0/1
ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 5)
0/1
ลม และเครื่องบอกทิศทางลม (สัปดาห์ที่ 6)
0/1
ลมบก ลมทะเล (สัปดาห์ที่ 7)
0/1
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ผลของลมบก ลมทะเล และลมมรสุม (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย (สัปดาห์ที่ 10)
0/1
การกัดเซาะชายฝั่ง (สัปดาห์ที่ 12)
0/1
การเกิดอุปราคา (สัปดาห์ที่ 14)
0/2
การเกิดปรากฏกาณ์สุริยุปราคา (สัปดาห์ที่ 15)
0/2
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 16)
0/1
ประโยชน์ของเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 17)
0/1
0% Complete