รายการบทเรียน
หน่วยการเรียนที่ 2 พัฒนาทักษะการเขียน
0/21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาทักษะการฟัง ดู พูด
0/7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วรรณกรรมและนิทานพื้นบ้าน
0/16
เรื่อง คำที่มีหลายความหมายและคำเปรียบเทียบ
0/1
สรุปความรู้กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
0/1
Lesson: การใช้คำและการใช้โวหารในการเขียนเรียงความ สัปดาห์ที่ 2 (ชั่วโมงที่ 3)
About Lesson

การใช้คำในการเขียนเรียงความ

  • ใช้คำง่ายๆ เข้าใจกันได้ทั่วไป ซึ่งไม่ใช่ภาษาพูด
  • ใช้คำสุภาพ ไม่ใช้คำหยาบ หรือภาษาสแลง
  • ใช้คำไทย ไม่ใช้ภาษาต่างประเทศ ถ้ามีคำไทยอยู่แล้ว หากไม่มีคำไทยใช้ก็ให้เขียน ทับศัพท์เป็นอักษรไทยได้
  • ไม่ควรใช้คำเชื่อมพร่ำเพรื่อ
  • ไม่ควรใช้คำโบราณ
  • ไม่ควรใช้ภาษาถิ่น
  • ไม่ควรใช้คำอุทานที่หยาบคาย
  • ไม่ควรใช้คำย่อโดยพร่ำเพรื่อ และไม่ควรย่อคำที่ใช้กันในหมู่คนกลุ่มเดียวกัน
  • ใช้คำให้ตรงกับความหมาย
  • ใช้คำเปรียบเทียบให้เหมาะสม

การใช้คำในการเขียนเรียงความ    งานเขียนจะมีคุณค่าหากผู้เขียนใช้โวหารประกอบงานเขียนนั้นๆ ได้เหมาะสมกับเรื่องที่เขียน โวหารที่ใช้ในการเขียนมี  ๕ โวหาร

          ๑. บรรยายโวหาร

          ๒. พรรณนาโวหาร

          ๓. เทศนาโวหาร

          ๔. อุปมาโวหาร

          ๕. สาธกโวหาร

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การใช้คำและโวหารในการเขียนเรียงความ

วิชาภาษาไทย ชั้น ม. 1 เรื่อง การเขียนเรียงความ สัปดาห์ที่ 2 (ชั่วโมงที่ 6)

Exercise Files
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การใช้คำและโวหารในการเขียนเรียงความ.pdf
Size: 84.13 KB
รายการบทเรียน
หน่วยการเรียนที่ 2 พัฒนาทักษะการเขียน
0/21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาทักษะการฟัง ดู พูด
0/7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วรรณกรรมและนิทานพื้นบ้าน
0/16
เรื่อง คำที่มีหลายความหมายและคำเปรียบเทียบ
0/1
สรุปความรู้กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
0/1
0% Complete