เนื้อหาของคอร์ส
หินและซากดึกดำบรรพ์
หินเป็นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย แร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถจำแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท
ตัวอย่างหิน (สัปดาห์ที่ 2)
0/1
ทดสอบความรู้ (สัปดาห์ที่ 3 )
0/1
ซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4 )
0/1
การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4)
0/1
ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 5)
0/1
ลม และเครื่องบอกทิศทางลม (สัปดาห์ที่ 6)
0/1
ลมบก ลมทะเล (สัปดาห์ที่ 7)
0/1
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ผลของลมบก ลมทะเล และลมมรสุม (สัปดาห์ที่ 8)
0/1
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย (สัปดาห์ที่ 10)
0/1
การกัดเซาะชายฝั่ง (สัปดาห์ที่ 12)
0/1
การเกิดอุปราคา (สัปดาห์ที่ 14)
0/2
การเกิดปรากฏกาณ์สุริยุปราคา (สัปดาห์ที่ 15)
0/2
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 16)
0/1
ประโยชน์ของเทคโนโลยี (สัปดาห์ที่ 17)
0/1
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว16101 ป.6 ภาคเรียนที่ 2
เกี่ยวกับบทเรียน

ซากดึกดำบรรพ์

          ซากดึกดำบรรพ์มีชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า ฟอสซิล (fossil) ซึ่งมีที่มาจากการขุดหรือค้นหาซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิต ที่อาจรวมทั้งพืชและสัตว์ในอดีตที่มีอายุยาวนานมาก ๆ  โดยถูกแปรสภาพและถูกเก็บรักษาไว้โดยธรรมชาติในชั้นหินในเปลือกโลก ตัวอย่างเช่น กระดูก ฟัน เปลือก เกร็ด หิน ผม ไม้ที่กลายเป็น หินน้ำมัน ถ่านหิน รอยพิมพ์ และเศษดีเอ็นเอ เป็นต้น ที่เห็นจะรู้จักและคุ้นเคยมากที่สุดก็คงหนีไม่พ้นซากโครงกระดูกของมนุษย์โบราณ ซากกระดูกไดโนเสาร์ รอยเท้าไดโนเสาร์ ซากพืชซากสัตว์ที่แห้งตายนั่นเอง

          และเมื่อร่องรอยเหล่านั้นถูกขุดขึ้นมาได้จากพื้นดิน  นั่นก็ทำให้มนุษย์ยุคปัจจุบันอย่างเรา ๆ ได้ประโยชน์จากความสงสัยและสนใจเป็นอย่างยิ่ง ในการค้นคว้าพิสูจน์และวิจัยที่อาจเป็นข้อมูลสำคัญในอดีตว่ามีรูปแบบและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในแต่ละช่วงระยะเวลาเป็นอย่างไรบ้าง

8400 1

ภาพที่ 1 ซากกระดูกของไดโนเสาร์
ที่มา https://pixabay.com/, onecrazykatie