รายการบทเรียน
หน่วยที่ ๕ เรื่อง การอ่านวิเคาระห์ วิจารณ์ การโต้แย้งอย่างมีเหตุผล วรรณคดีหัวใจชายหนุ่ม
การศึกษาเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ต้องฝึกวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของเรื่อง เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และสังเคราะห์ข้อคิดจากเรื่องเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
0/5
สัปดาห์ที่ 3 คำภาษาต่างประเทศที่นำมาใช้ในวรรณคดีหัวใจชายหนุ่ม
คำยืมภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทย สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย คำภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีใช้ในภาษาไทย คำยืมที่มาจากภาษาสันสกฤต คำยืมที่มาจากภาษาอังกฤษ คำยืมภาษาจีนที่มีใช้ในภาษาไทย คำภาษาเขมรในภาษาไทย คำภาษาชวา-มลายูที่มีใช้ในภาษาไทย คำภาษาอื่น ๆ ที่มีใช้ในภาษาไทย การยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย การยืมเป็นลักษณะของทุกภาษา ไม่ว่าภาษาใดที่ไม่มีภาษาอื่นเข้ามาปะปน เมื่อแต่ละชาติต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กันมาตั้งแต่อดีตกาลจนเกิดการนำคำหรือลักษณะทางภาษา ของอีกภาษาเข้าไปใช้ในภาษาของตน ประเภทของการยืม 1. ยืมเนื่องจากวัฒนธรรม กลุ่มที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมด้อยกว่าจะรับเอาวัฒนธรรมจาก กลุ่มที่มีความเจริญมากกว่า 2. ยืมเนื่องจากความใกล้ชิด การที่สองกลุ่มใช้ภาษาต่างกันร่วมสังคมเดียวกันหรือมีอาณาเขตใกล้ชิดกัน มีความสัมพันธ์กันในชีวิตประจำวันทำให้เกิดการยืมภาษาซึ่งกันและกัน 3. ยืมจากคนต่างกลุ่ม การยืมภาษาเดียวกันแต่เป็นภาษาของผู้ใช้ที่อยู่ในสภาพที่ต่างกัน อิทธิพลของการยืม การยืมทำให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อวงศัพท์ซึ่งการยืมทำให้ จำนวนศัพท์ในภาษามีการเพิ่มพูน เกิดวาระการใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเดียวกัน แต่เราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทั้งยังมีประโยชน์ในการแต่งบทร้องกรองเพราะมีหลากคำ ประวัติศาสตร์การยืมของประเทศไทย ภาษาไทยมีการยืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนเป็นเวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงเมื่อปี พ.ศ. 1826 ก็ยังปรากฏคำยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเขมรเข้ามาปะปนมากมายประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทำให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเป็นจำนวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส พม่า มอญ อังกฤษ สาเหตุการยืมของภาษาไทย 1. ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดต่อหรือใกล้เคียงกันกับมิตรประเทศ 2. ความสัมพันธ์ทางการค้า การติดต่อซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับต่างประเทศ 3. ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่างประเทศ สู่ประเทศไทย 4. การศึกษาและการกีฬา การที่นักเรียนไทยไปศึกษาที่ต่างประเทศทำให้รับวิชาความรู้ และวิทยาการมากมาย 5. ความสัมพันธ์ทางการฑูต การเจริญสัมพันธไมตรีซึ่งกันและกัน ระหว่างไทยกับต่างประเทศ
0/8
Lesson: คำภาษาต่างประเทศที่นำมาใช้ในภาษาไทย
About Lesson
Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หน่วยที่ ๕ เรื่อง การอ่านวิเคาระห์ วิจารณ์ การโต้แย้งอย่างมีเหตุผล วรรณคดีหัวใจชายหนุ่ม
การศึกษาเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ต้องฝึกวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของเรื่อง เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และสังเคราะห์ข้อคิดจากเรื่องเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
0/5
สัปดาห์ที่ 3 คำภาษาต่างประเทศที่นำมาใช้ในวรรณคดีหัวใจชายหนุ่ม
คำยืมภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทย สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย คำภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีใช้ในภาษาไทย คำยืมที่มาจากภาษาสันสกฤต คำยืมที่มาจากภาษาอังกฤษ คำยืมภาษาจีนที่มีใช้ในภาษาไทย คำภาษาเขมรในภาษาไทย คำภาษาชวา-มลายูที่มีใช้ในภาษาไทย คำภาษาอื่น ๆ ที่มีใช้ในภาษาไทย การยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย การยืมเป็นลักษณะของทุกภาษา ไม่ว่าภาษาใดที่ไม่มีภาษาอื่นเข้ามาปะปน เมื่อแต่ละชาติต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กันมาตั้งแต่อดีตกาลจนเกิดการนำคำหรือลักษณะทางภาษา ของอีกภาษาเข้าไปใช้ในภาษาของตน ประเภทของการยืม 1. ยืมเนื่องจากวัฒนธรรม กลุ่มที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมด้อยกว่าจะรับเอาวัฒนธรรมจาก กลุ่มที่มีความเจริญมากกว่า 2. ยืมเนื่องจากความใกล้ชิด การที่สองกลุ่มใช้ภาษาต่างกันร่วมสังคมเดียวกันหรือมีอาณาเขตใกล้ชิดกัน มีความสัมพันธ์กันในชีวิตประจำวันทำให้เกิดการยืมภาษาซึ่งกันและกัน 3. ยืมจากคนต่างกลุ่ม การยืมภาษาเดียวกันแต่เป็นภาษาของผู้ใช้ที่อยู่ในสภาพที่ต่างกัน อิทธิพลของการยืม การยืมทำให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อวงศัพท์ซึ่งการยืมทำให้ จำนวนศัพท์ในภาษามีการเพิ่มพูน เกิดวาระการใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเดียวกัน แต่เราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทั้งยังมีประโยชน์ในการแต่งบทร้องกรองเพราะมีหลากคำ ประวัติศาสตร์การยืมของประเทศไทย ภาษาไทยมีการยืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนเป็นเวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงเมื่อปี พ.ศ. 1826 ก็ยังปรากฏคำยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเขมรเข้ามาปะปนมากมายประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทำให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเป็นจำนวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส พม่า มอญ อังกฤษ สาเหตุการยืมของภาษาไทย 1. ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดต่อหรือใกล้เคียงกันกับมิตรประเทศ 2. ความสัมพันธ์ทางการค้า การติดต่อซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับต่างประเทศ 3. ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่างประเทศ สู่ประเทศไทย 4. การศึกษาและการกีฬา การที่นักเรียนไทยไปศึกษาที่ต่างประเทศทำให้รับวิชาความรู้ และวิทยาการมากมาย 5. ความสัมพันธ์ทางการฑูต การเจริญสัมพันธไมตรีซึ่งกันและกัน ระหว่างไทยกับต่างประเทศ
0/8
0% Complete