รายการบทเรียน
3. Expressing Agreement
Expressing Agreement 1. เมื่อมีผู้กล่าวข้อความออกมาเป็นประโยคบอกเล่า กล่าวถึงการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าเราปฏิบัติเช่นเดียวกัน มีวิธีพูดได้ 2 วิธี คือ 1.1 ใช้ประธาน + กริยาพิเศษ + too (จะมี and นำหน้าก็ได้) เช่น คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And I was too. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ I was too.) 1.2 ใช้ So + กริยาพิเศษ + ประธาน (จะมี and นำหน้าก็ได้) คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And so was I. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ So was I.) ข้อสังเกต: กริยาพิเศษที่ใช้สนองจะต้องมี tense อย่างเดียวกับคำเสนอ ในกรณีที่คำเสนอใช้กริยาธรรมดา ให้ใช้ do / does / did ในคำสนอง (tense เดียวกับคำเสนอ) เช่น คำเสนอ : I went to the cinema last night. (เมื่อคืนฉันไปดูหนัง) คำสนอง : So did I. (ฉันก็เช่นเดียวกัน) 2. เมื่อผู้สนทนากล่าวข้อความออกมาเป็น ประโยคปฏิเสธ คือ ประธานในประโยคนั้นไม่ได้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และประโยคที่คู่สนทนากล่าวออกมา ประธานก็ไม่ได้กระทำเช่นนั้นเหมือนกัน มีวิธีแสดงได้สั้นๆ คือ 2.1 ประธาน + กริยาช่วย + not + either 2.2 Nor + กริยาช่วย + ประธาน 2.3 Neither + กริยาช่วย + ประธาน เช่น I didn’t go to the cinema last night. (เมื่อคืนผมไม่ได้ไปดูหนัง) 2.1 I didn’t either. 2.2 Nor did I. 2.3 Neither did I.
0/4
Lesson: Indirection Question 2
About Lesson

Indirection Question คือคำถามแบบอ้อมๆ ซึ่งเป็นคำถามตรงข้ามกับ Direct Question วิธีการนำไปใช้ก็เพื่อต้องการทราบข้อมูลด้วยกันทั้ง 2 แบบ แต่การถามแบบ Indirection Question จะเป็นการถามแบบการถามที่สุภาพ

Exercise Files
Indirect question Exercise 1.pdf
Size: 81.21 KB
รายการบทเรียน
3. Expressing Agreement
Expressing Agreement 1. เมื่อมีผู้กล่าวข้อความออกมาเป็นประโยคบอกเล่า กล่าวถึงการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าเราปฏิบัติเช่นเดียวกัน มีวิธีพูดได้ 2 วิธี คือ 1.1 ใช้ประธาน + กริยาพิเศษ + too (จะมี and นำหน้าก็ได้) เช่น คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And I was too. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ I was too.) 1.2 ใช้ So + กริยาพิเศษ + ประธาน (จะมี and นำหน้าก็ได้) คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And so was I. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ So was I.) ข้อสังเกต: กริยาพิเศษที่ใช้สนองจะต้องมี tense อย่างเดียวกับคำเสนอ ในกรณีที่คำเสนอใช้กริยาธรรมดา ให้ใช้ do / does / did ในคำสนอง (tense เดียวกับคำเสนอ) เช่น คำเสนอ : I went to the cinema last night. (เมื่อคืนฉันไปดูหนัง) คำสนอง : So did I. (ฉันก็เช่นเดียวกัน) 2. เมื่อผู้สนทนากล่าวข้อความออกมาเป็น ประโยคปฏิเสธ คือ ประธานในประโยคนั้นไม่ได้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และประโยคที่คู่สนทนากล่าวออกมา ประธานก็ไม่ได้กระทำเช่นนั้นเหมือนกัน มีวิธีแสดงได้สั้นๆ คือ 2.1 ประธาน + กริยาช่วย + not + either 2.2 Nor + กริยาช่วย + ประธาน 2.3 Neither + กริยาช่วย + ประธาน เช่น I didn’t go to the cinema last night. (เมื่อคืนผมไม่ได้ไปดูหนัง) 2.1 I didn’t either. 2.2 Nor did I. 2.3 Neither did I.
0/4
0% Complete