รายการบทเรียน
3. Expressing Agreement
Expressing Agreement 1. เมื่อมีผู้กล่าวข้อความออกมาเป็นประโยคบอกเล่า กล่าวถึงการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าเราปฏิบัติเช่นเดียวกัน มีวิธีพูดได้ 2 วิธี คือ 1.1 ใช้ประธาน + กริยาพิเศษ + too (จะมี and นำหน้าก็ได้) เช่น คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And I was too. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ I was too.) 1.2 ใช้ So + กริยาพิเศษ + ประธาน (จะมี and นำหน้าก็ได้) คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And so was I. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ So was I.) ข้อสังเกต: กริยาพิเศษที่ใช้สนองจะต้องมี tense อย่างเดียวกับคำเสนอ ในกรณีที่คำเสนอใช้กริยาธรรมดา ให้ใช้ do / does / did ในคำสนอง (tense เดียวกับคำเสนอ) เช่น คำเสนอ : I went to the cinema last night. (เมื่อคืนฉันไปดูหนัง) คำสนอง : So did I. (ฉันก็เช่นเดียวกัน) 2. เมื่อผู้สนทนากล่าวข้อความออกมาเป็น ประโยคปฏิเสธ คือ ประธานในประโยคนั้นไม่ได้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และประโยคที่คู่สนทนากล่าวออกมา ประธานก็ไม่ได้กระทำเช่นนั้นเหมือนกัน มีวิธีแสดงได้สั้นๆ คือ 2.1 ประธาน + กริยาช่วย + not + either 2.2 Nor + กริยาช่วย + ประธาน 2.3 Neither + กริยาช่วย + ประธาน เช่น I didn’t go to the cinema last night. (เมื่อคืนผมไม่ได้ไปดูหนัง) 2.1 I didn’t either. 2.2 Nor did I. 2.3 Neither did I.
0/4
Lesson: Indefinite Pronoun (3)
About Lesson

Indefinite Pronoun

          Indefinite Pronoun คือ สรรพนามที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงจะถูกนำมาใช้เมื่อต้องการกล่าวถึงคน หรือสถานที่ หรือสิ่งของอย่างไม่เจาะจง โดยทั่วไปแล้วสรรพนามที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงในภาษาอังกฤษที่พบบ่อยมี 4 คำได้แก่ any, some, every และ no

 

ผู้คน

สถานที่

สิ่งของ

ทั้งหมด

everyone

everybody

everywhere

everything

บางส่วน (บอกเล่า)

someone

somebody

somewhere

something

บางส่วน (ปฏิเสธ/คำถาม)

anybody

anyone

anywhere

anything

ไม่มี

no one

nobody

nowhere

nothing

สรรพนามที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงที่ใช้กับ  some และ any จะถูกใช้เพื่ออธิบายถึง ปริมาณที่ไม่แน่นอนหรือไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ในทางเดียวกัน some และ any สามารถใช้โดด ๆ ได้ไม่ว่าจะในประโยคใด ๆ ก็ตาม สรรพนามที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงจะถูกวางไว้ตำแหน่งเดียวกันกับคำนาม

Exercise Files
Indefinite pronoun Exercise 2.pdf
Size: 124.09 KB
รายการบทเรียน
3. Expressing Agreement
Expressing Agreement 1. เมื่อมีผู้กล่าวข้อความออกมาเป็นประโยคบอกเล่า กล่าวถึงการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าเราปฏิบัติเช่นเดียวกัน มีวิธีพูดได้ 2 วิธี คือ 1.1 ใช้ประธาน + กริยาพิเศษ + too (จะมี and นำหน้าก็ได้) เช่น คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And I was too. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ I was too.) 1.2 ใช้ So + กริยาพิเศษ + ประธาน (จะมี and นำหน้าก็ได้) คำเสนอ : He was ill yesterday. (เมื่อวานเขาผู้ชายไม่สบาย) คำสนอง: And so was I. (ผมก็ไม่สบายเช่นเดียวกัน) (หรือ So was I.) ข้อสังเกต: กริยาพิเศษที่ใช้สนองจะต้องมี tense อย่างเดียวกับคำเสนอ ในกรณีที่คำเสนอใช้กริยาธรรมดา ให้ใช้ do / does / did ในคำสนอง (tense เดียวกับคำเสนอ) เช่น คำเสนอ : I went to the cinema last night. (เมื่อคืนฉันไปดูหนัง) คำสนอง : So did I. (ฉันก็เช่นเดียวกัน) 2. เมื่อผู้สนทนากล่าวข้อความออกมาเป็น ประโยคปฏิเสธ คือ ประธานในประโยคนั้นไม่ได้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และประโยคที่คู่สนทนากล่าวออกมา ประธานก็ไม่ได้กระทำเช่นนั้นเหมือนกัน มีวิธีแสดงได้สั้นๆ คือ 2.1 ประธาน + กริยาช่วย + not + either 2.2 Nor + กริยาช่วย + ประธาน 2.3 Neither + กริยาช่วย + ประธาน เช่น I didn’t go to the cinema last night. (เมื่อคืนผมไม่ได้ไปดูหนัง) 2.1 I didn’t either. 2.2 Nor did I. 2.3 Neither did I.
0/4
0% Complete