รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
Lesson: สัปดาห์ที่ 1 ชั่วโมงที่ 3 การนำเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางแจกแจงความถี่
About Lesson

การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการจัดข้อมูลที่มีอยู่ หรือที่เก็บรวบรวมมาให้อยู่เป็นพวก ๆ เพื่อความสะดวกในการนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้นซึ่งสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการแจกแจงความถี่ คือ

1. ถ้าข้อมูลดิบมีจำนวนน้อยให้เรียงข้อมูลจากมากไปน้อยหรือเรียงลำดับจากน้อยไปมาก ซึ่งข้อมูลที่เรียงลำดับแล้ว เรียกว่า Ungrouped Data การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดนี้จะได้ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และการกระจายของข้อมูล

2.  ถ้าข้อมูลดิบมีจำนวนมาก (ข้อมูลตั้งแต่ 30 จำนวนขึ้นไป)  ให้ทำการแจกแจงความถี่โดยตาราง ซึ่งเรียกว่า Grouped Data

Exercise Files
image_2021-10-26_095157.png
Size: 60.79 KB
รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
0% Complete