รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
Lesson: สัปดาห์ที่ 1 ชั่วโมงที่ 2 การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ
About Lesson

การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพจุด  เป็นการนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟแบบหนึ่ง โดยแสดงข้อมูลในรูปจุดใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่มาก โดยแกนนอนของกราฟจะแสดงหน่วยวัดจุดแต่ละจุดแทนจำนวนข้อมูลแต่ละตัว

    การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพต้น-ใบ เป็นการจัดการข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ หรือช่วง ๆ

    โดยมีหลักการเขียนส่วน

การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพจุด  เป็นการนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟแบบหนึ่ง โดยแสดงข้อมูลในรูปจุดใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่มาก โดยแกนนอนของกราฟจะแสดงหน่วยวัดจุดแต่ละจุดแทนจำนวนข้อมูลแต่ละตัว

    การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภาพต้น-ใบ เป็นการจัดการข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ หรือช่วง ๆ

    โดยมีหลักการเขียนส่วนประกอบออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนต้น (Stem) และส่วนใบ (Leaf)

    ส่วนต้น (Stem) ในกรณีที่ข้อมูลมีค่าสูงไม่เกิน 99 จะมีเลขโดดหลักสิบเป็นส่วนต้น ในกรณีที่ข้อมูล

    มีค่าสูงไม่เกิน 999 จะมีเลขโดดหลักร้อยและหลักสิบเป็นส่วนต้น

    ส่วนใบ (Leaf) เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลส่วนย่อย โดยเขียนหลักหน่วยเป็นส่วนใบ

ประกอบออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนต้น (Stem) และส่วนใบ (Leaf)

    ส่วนต้น (Stem) ในกรณีที่ข้อมูลมีค่าสูงไม่เกิน 99 จะมีเลขโดดหลักสิบเป็นส่วนต้น ในกรณีที่ข้อมูล

    มีค่าสูงไม่เกิน 999 จะมีเลขโดดหลักร้อยและหลักสิบเป็นส่วนต้น

    ส่วนใบ (Leaf) เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลส่วนย่อย โดยเขียนหลักหน่วยเป็นส่วนใบ

Exercise Files
image_2021-10-26_094709.png
Size: 92.68 KB
รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
0% Complete