รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
Lesson: สัปดาห์ที่ 2 ชั่วโมงที่ 2 ค่ากลางของข้อมูล
About Lesson

มัธยฐาน

     มัธยฐานของข้อมูลชุดหนึ่ง คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย  หรือจากน้อยไปมาก โดยสามารถพิจารณาได้สองกรณี คือ

  1. ถ้าข้อมูลมีจำนวนเป็นจำนวนคี่ เมื่อเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก มัธยฐาน

     คือ ค่าของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลาง

  1. ถ้าข้อมูลมีจำนวนเป็นจำนวนคู่ เมื่อเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก มัธยฐาน

     คือ ค่าเฉลี่ยของผลบวกของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางสองค่า

          โดยทั่วไปค่ามัธยฐานนิยมใช้เป็นค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลที่มีค่าแตกต่างกันของข้อมูลต่างกันมาก

     ฐานนิยม

     ฐานนิยมของข้อมูลชุดหนึ่ง คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดนั้น

     ข้อมูลบางชุดอาจมีฐานนิยมได้มากกว่าหนึ่งค่า แต่ถ้าชุดข้อมูลชุดใดมีฐานนิยมมากกว่า 3 ค่า

     แสดงว่าไม่มีฐานนิยมหรือข้อมูลชุดใดที่มีความถี่ของข้อมูลเท่ากันทุกตัว คือ ความถี่เท่ากับ 1 ข้อมูล

     ชุดนั้นไม่มีฐานนิยม

Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด เป็นการน าเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจ านวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่ง ประกอบด้วยเส้นจ านวนตามแนวแกนนอน และจุดที่วางเหนือเส้นจ านวน โดยจุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล 1 หน่วย ​แผนภาพต้น-ใบ เป็นการน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนที่เรียกว่า ส่วนล าต้น และส่วนใบ โดยส่วนใบจะเป็นตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนล าต้น ​ฮิสโทแกรม มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง แต่ใช้แท่งสี่เหลี่ยทมุมฉากแสดงความถี่หรือความสัมพัทธ์ของ ข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงปริมาณของข้อมูลซึ่งมีเพียงค่าเดียว ​ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จ านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูล มัธยฐาน คือ ค่าค่าหนึ่งซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือมากไปน้อยแล้วจ านวนของข้อมูลที่น้อย กว่าหรือเท่ากับค่านั้น จะเท่ากับ จ านวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ
0/12
หน่วยที่ 2 เรื่อง การเท่ากันทุกประการ
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา
0/6
หน่วยที่ 4 เรื่อง การสร้างทางเรขาคณิต
การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
0/6
หน่วยที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง
0/13
0% Complete