วิชาทัศนศิลป์ ศ21101 ม.1 ปีการศึกษา 2567

หมวดหมู่: ม.1
คอร์สที่สนใจ แชร์
แชร์คอร์ส
ลิงก์หน้า
แชร์บนโซเชียล

เกี่ยวกับคอร์ส

  1.                                                                        คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
    กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ                                                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
    รหัส ศ21101 รายวิชา ศิลปะ                                                                    ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง
    สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียน : ปลายปี = 80 : 20                                                 จ านวนหน่วยกิต 1.0

ศึกษา ค้นคว้าและปฏิบัติเกี่ยวกับความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และ สิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ ระบุ การคัดแยกขยะมูลฝอย การแยกขยะและน าขยะรีไซเคิลไปใช้ประโยชน์หรือจำหน่ายการบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืน และความสมดุล การวาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น 3 มิติ การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค านึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท านั้นๆอย่างรอบคอบ รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว 3 มิติโดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนและการสื่อถึงเรื่องราวของงาน ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและข้อมูลการมีส่วนร่วมในการจัดการด้านพลังงาน และมีค่านิยม 12 ประการ

การฝึกทักษะทางดนตรีผ่านกระบวนการอธิบาย อ่าน เขียน โน้ตไทยและโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้อง
และเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ ขับร้องเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการด าเนินชีวิตอย่างมีความสุขด้วยความพอเพียงและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จัดการด้านพลังงาน แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบาแตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการฟังดนตรีแต่ละประเภทอภิปรายลักษณะเด่นที่ท าให้งานนั้นน่าชื่นชม ใช้เกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพงานดนตรี หรือเพลงที่ฟัง

การฝึกทักษะทางนาฏศิลป์ ผ่านกระบวนการอธิบาย อิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม การบรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย การใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดงแสดงนาฏศิลป์ แสดงท่าร านาฏศิลป์ไทยประกอบบทเพลงที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการแสดงประกอบบทเพลงอยู่อย่างพอเพียงและละครในรูปแบบง่าย ๆ

โดยใช้กระบวนการคิด การระบุ การอภิปราย การสร้างงาน การบอกเล่าและ อธิบาย การบรรยาย การเปรียบเทียบ วิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการฝึกปฏิบัติ ในการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์การแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจนำความรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อการทำงานและชีวิตประจ าวัน มีความชื่นชม เห็นคุณค่าของศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด
ศ.1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ศ 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/8
ศ 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ศ 3.2 ม.1/2
รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วัด

แสดงเพิ่มเติม

คุณจะได้เรียนรู้อะไร?

  • เทอม 1
  • 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์
  • 2. ทัศนธาตุ
  • 3. การออกแบบงานทัศนศิลป์
  • 4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี
  • 5. หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ
  • เทอม 2
  • 6. งานปั้นและงานสื่อผสม
  • 7. การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ และงานกราฟิก
  • 8. หลักการประเมินงานทัศนศิลป์
  • 9. ทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น
  • 10. ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล

เนื้อหาของคอร์ส

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์

หน่วยที่ 2 ทัศนธาตุ

หน่วยที่ 3 การออกแบบงานทัศนศิลป์

หน่วยที่ 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี

หน่วยที่ 5 หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ

หน่วยที่ 6 งานปั้นและงานสื่อผสม

หน่วยที่ 7 การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ และงานกราฟิก

หน่วยที่ 8 หลักการประเมินงานทัศนศิลป์

หน่วยที่ 9 ทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น

หน่วยที่ 10 ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล

การจัดอันดับและรีวิวของผู้เรียน

ยังไม่มีรีวิว
ยังไม่มีรีวิว

Want to receive push notifications for all major on-site activities?