รายการบทเรียน
หน่วยที่ 5 หนึ่งในประชาคม
 ความหมายของคำบุพบท  ชนิดและหน้าที่ของคำบุพบท  วิเคราะห์ประโยคจากคำบุพบท  จำแนกชนิดของคำบุพบท  อ่านและสังเกตคำในประโยคขีดเส้นใต้คำบุพบท
0/5
สัปดาห์ที่ 1คำบุพบท
คําชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทําหน้าที่เชื่อมคําต่อคํา อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา มีคําว่า ด้วย โดย ใน เป็นต้น เช่น เขียนด้วยดินสอ หนังสือของฉัน กินเพื่ออยู่.
0/2
สัปดาห์ที่ 2 คำสันธาน
คำสันธาน หมายถึง คำที่ใช้เชื่อมคำหรือข้อความให้ติดต่อเป็นเรื่องเดียวกัน ประโยคจะมีความกระชับ และสละสลวยขึ้น เช่นคำว่า และ แล้ว จึง แต่ หรือ เพราะ เหตุเพราะ เป็นต้น
0/4
สัปดาห์ที่ 3 เรื่องคำอุทาน
คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด เช่น ดีใจ เสียใจ ตกใจ แปลกใจ สงสัย สงสาร เจ็บปวด โกรธ เป็นต้น คำอุทานมักจะอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กำกับหลังคำอุทานนั้นเสมอ
0/3
สัปดาห์ที่ 4 จดหมายส่วนตัว
การเขียนเพื่อการสื่อสาร การเขียนจดหมาย ข่าว ประกาศและแจ้งความ การเขียนจดหมายเป็นการสื่อสารโดยตรงระหว่างบุคคลหรือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ช่วย ทำให้ระยะทางไกลเป็นใกล้ เพราะไม่ว่าบุคคลหรือหน่วยงานจะห่างไกลกันแค่ไหนก็สามารถใช้จดหมายส่งข่าว คราวและแจ้งความประสงค์ได้ตามความต้องการ การส่งสารหรือ ข้อความในจดหมายต้องเขียนให้แจ่มแจ้งชัดเจน เพื่อจะได้เข้าใจตรงกันทั้งสองฝ่าย องค์ประกอบและรูปแบบของจดหมาย ผู้เขียนคงเคยเขียนจดหมายหรืออ่านจดหมายมาบ้างแล้ว คงจะสังเกตเห็นว่าจดหมาย นั้นไม่ว่าประเภทใด จะต้องประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ที่อยู่ของผู้เขียน เริ่มกึ่งกลางหน้าระหว่างเส้นคั่นหน้ากับริมของขอบกระดาษ ๒. วัน เดือน ปี ที่เขียนจดหมาย ให้เยื้องมาทางซ้ายของตำแหน่งที่เขียนที่อยู่เล็กน้อย ๓. คำขึ้นต้น ห่างจากขอบกระดาษด้านซ้าย ๑ นิ้ว ๔. เนื้อหา ขึ้นอยู่กับย่อหน้าตามปกติ อาจจะอยู่ห่างจากขอบกระดาษด้านซ้าย ๒ นิ้ว ๕. คำลงท้ายอยู่แนวเดียวกับที่อยู่ของผู้เขียน ๖. ชื่อผู้เขียน อยู่ใต้คำลงท้าย ล้ำเข้าไปเล็กน้อย
0/3
สัปดาห์ที่ 5 การสื่อสาร
การเขียนเพื่อสื่อสาร จะมีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหนนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับผู้ส่งสารหรือผู้เขียน ซึ่งจะต้องมีความสามารถในหลายๆ ด้าน ทั้งในกระบวนการคิดและในกระบวนการเขียน เช่น ความสามารถในด้านการใช้ภาษา และความสามารถในการใช้เหตุผล และยังต้องมีความรู้ในเรื่องของรูปแบบของการเขียนต่างๆ เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการเขียนประวัติย่อในการสมัครงาน การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนโครงงาน การเขียนรายงานวิชาการ การเขียนรายงานการประชุม ตลอดจนการกรอกแบบรายการต่างๆ
0/3
สัปดาห์ที่ 6 คำราชาศัพท์และระดับของภาษา
ถ้อยคำที่ใช้พูดกับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ พระภิกษุสงฆ์ รวมถึงคำสุภาพที่ใช้กับสุภาพชนทั่วไป ซึ่งเราควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับระดับชั้นของบุคคล
0/3
สัปดาห์ที่ 7 คำราชาศัพท์หมวดต่างๆ
คำเฉพาะสำหรับพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน และเจ้านาย, ต่อมาหมายรวมถึงคำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการ และสุภาพชนด้วย.
0/4
สัปดาห์ที่ 12
การตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล เป็นวิธีการตั้งประเด็นเพื่อทราบรายละเอียดของเรื่องต่าง ๆ การพูดหรือเขียนสิ่งที่ต้องการรู้จากการอ่าน การฟัง การดู ควรตั้งคำถามที่ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะสม มีเหตุมีผล ทำให้เกิดเจตคติที่ดี สามารถวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น ทำให้ได้ความรู้หรือข้อคิดที่เป็นประโยชน์
0/3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
นิทานพื้นบ้าน คือ เรื่องที่เล่าสืบทอดต่อ ๆ กันมา แสดงถึงภูมิปัญญาทางภาษาและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมประจำถิ่น ทำให้เข้าใจความคิด พฤติกรรมและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่นนั้น ได้เรียนรู้เรื่องสภาพสังคม วิถีชีวิต ความเจริญรุ่งเรือง ความดีงามของบรรพบุรุษ เพื่อจะได้สืบสานด้วยความภาคภูมิใจ
0/1
Lesson: ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง คำประกาศ
About Lesson
Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หน่วยที่ 5 หนึ่งในประชาคม
 ความหมายของคำบุพบท  ชนิดและหน้าที่ของคำบุพบท  วิเคราะห์ประโยคจากคำบุพบท  จำแนกชนิดของคำบุพบท  อ่านและสังเกตคำในประโยคขีดเส้นใต้คำบุพบท
0/5
สัปดาห์ที่ 1คำบุพบท
คําชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทําหน้าที่เชื่อมคําต่อคํา อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา มีคําว่า ด้วย โดย ใน เป็นต้น เช่น เขียนด้วยดินสอ หนังสือของฉัน กินเพื่ออยู่.
0/2
สัปดาห์ที่ 2 คำสันธาน
คำสันธาน หมายถึง คำที่ใช้เชื่อมคำหรือข้อความให้ติดต่อเป็นเรื่องเดียวกัน ประโยคจะมีความกระชับ และสละสลวยขึ้น เช่นคำว่า และ แล้ว จึง แต่ หรือ เพราะ เหตุเพราะ เป็นต้น
0/4
สัปดาห์ที่ 3 เรื่องคำอุทาน
คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด เช่น ดีใจ เสียใจ ตกใจ แปลกใจ สงสัย สงสาร เจ็บปวด โกรธ เป็นต้น คำอุทานมักจะอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กำกับหลังคำอุทานนั้นเสมอ
0/3
สัปดาห์ที่ 4 จดหมายส่วนตัว
การเขียนเพื่อการสื่อสาร การเขียนจดหมาย ข่าว ประกาศและแจ้งความ การเขียนจดหมายเป็นการสื่อสารโดยตรงระหว่างบุคคลหรือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ช่วย ทำให้ระยะทางไกลเป็นใกล้ เพราะไม่ว่าบุคคลหรือหน่วยงานจะห่างไกลกันแค่ไหนก็สามารถใช้จดหมายส่งข่าว คราวและแจ้งความประสงค์ได้ตามความต้องการ การส่งสารหรือ ข้อความในจดหมายต้องเขียนให้แจ่มแจ้งชัดเจน เพื่อจะได้เข้าใจตรงกันทั้งสองฝ่าย องค์ประกอบและรูปแบบของจดหมาย ผู้เขียนคงเคยเขียนจดหมายหรืออ่านจดหมายมาบ้างแล้ว คงจะสังเกตเห็นว่าจดหมาย นั้นไม่ว่าประเภทใด จะต้องประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ที่อยู่ของผู้เขียน เริ่มกึ่งกลางหน้าระหว่างเส้นคั่นหน้ากับริมของขอบกระดาษ ๒. วัน เดือน ปี ที่เขียนจดหมาย ให้เยื้องมาทางซ้ายของตำแหน่งที่เขียนที่อยู่เล็กน้อย ๓. คำขึ้นต้น ห่างจากขอบกระดาษด้านซ้าย ๑ นิ้ว ๔. เนื้อหา ขึ้นอยู่กับย่อหน้าตามปกติ อาจจะอยู่ห่างจากขอบกระดาษด้านซ้าย ๒ นิ้ว ๕. คำลงท้ายอยู่แนวเดียวกับที่อยู่ของผู้เขียน ๖. ชื่อผู้เขียน อยู่ใต้คำลงท้าย ล้ำเข้าไปเล็กน้อย
0/3
สัปดาห์ที่ 5 การสื่อสาร
การเขียนเพื่อสื่อสาร จะมีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหนนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับผู้ส่งสารหรือผู้เขียน ซึ่งจะต้องมีความสามารถในหลายๆ ด้าน ทั้งในกระบวนการคิดและในกระบวนการเขียน เช่น ความสามารถในด้านการใช้ภาษา และความสามารถในการใช้เหตุผล และยังต้องมีความรู้ในเรื่องของรูปแบบของการเขียนต่างๆ เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการเขียนประวัติย่อในการสมัครงาน การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนโครงงาน การเขียนรายงานวิชาการ การเขียนรายงานการประชุม ตลอดจนการกรอกแบบรายการต่างๆ
0/3
สัปดาห์ที่ 6 คำราชาศัพท์และระดับของภาษา
ถ้อยคำที่ใช้พูดกับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ พระภิกษุสงฆ์ รวมถึงคำสุภาพที่ใช้กับสุภาพชนทั่วไป ซึ่งเราควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับระดับชั้นของบุคคล
0/3
สัปดาห์ที่ 7 คำราชาศัพท์หมวดต่างๆ
คำเฉพาะสำหรับพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน และเจ้านาย, ต่อมาหมายรวมถึงคำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการ และสุภาพชนด้วย.
0/4
สัปดาห์ที่ 12
การตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล เป็นวิธีการตั้งประเด็นเพื่อทราบรายละเอียดของเรื่องต่าง ๆ การพูดหรือเขียนสิ่งที่ต้องการรู้จากการอ่าน การฟัง การดู ควรตั้งคำถามที่ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะสม มีเหตุมีผล ทำให้เกิดเจตคติที่ดี สามารถวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น ทำให้ได้ความรู้หรือข้อคิดที่เป็นประโยชน์
0/3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
นิทานพื้นบ้าน คือ เรื่องที่เล่าสืบทอดต่อ ๆ กันมา แสดงถึงภูมิปัญญาทางภาษาและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมประจำถิ่น ทำให้เข้าใจความคิด พฤติกรรมและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่นนั้น ได้เรียนรู้เรื่องสภาพสังคม วิถีชีวิต ความเจริญรุ่งเรือง ความดีงามของบรรพบุรุษ เพื่อจะได้สืบสานด้วยความภาคภูมิใจ
0/1
0% Complete