หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต
1. สระในภำษำสันสกฤตมี 14 เสียง ได้แก่ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ เอ เอา
2. พยัญชนะสันสกฤตม 35 ตัว (ตามพยัญชนะวรรคของบาลี) รวม ศ ษ
3. ตัวสะกดตัวตามไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัวเหมือนภาษาบาลี เช่น อัคนี มุกดำ นิตยำ อำทิตย์
4. นิยมใช้ ฑ เช่น ครุฑ กรีฑำ
5. ใช้ ศ ษ เช่น ศีรษะ เกษตร รัศมี พิศวาส อัศจรรย์ สันโดษ (ยกเว้น ศึก ศอก เศิก เศร้า เป็นคำไทยแท้)
6. คำในสันสกฤตใช้ ร (รอ เรผะ) ใช้ในภาษาไทยเป็น รร (รอหัน) เช่น ครภ์ = ครรภ์ ธรม = ธรรม
7. สันสกฤตใช้ ร เป็นตัวควบกล้ำ เช่น สงกรานต์ มาตรา สตรี เคราะห์ ปรีดำ
8. คำภาษาสันสกฤตมักมีตัวสะกดเป็นตัวควบกล้ำ เช่น สมัคร บุตร เนตร
9. คำภาษาสันสกฤตมักมีตัวการันต์อยู่หลังพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดที่ไม่ต้องการออกเสียง เช่น สังสรรค์ พักตร์ ลักษณ์
10. คำภาษาสันสกฤตมักใช้ตัว ร เป็นตัวการันต์ เช่น อินทร์ ศาสตร์
11. คำที่ใช้รูปพยัญชนะซ้อน เช่น ปราชญ์ ใช้ ช + ญ อาทิตย์ ใช้ต + ญ แพทย์ ใช้ ท + ย 12. คำที่ใช้พยัญชนะซ้อนในรปู ส+ด ส+ต ส+ถ เช่น วัสดุ พิสดำร สตรี สถาน สถาปนา 13. คำที่ใช้ ฑ โดยไม่มี ณ นำอยู่ข้างหน้า เช่น ครุฑ กรีฑา