เนื้อหาของคอร์ส
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 12 ค23204 ม.3 ภาคเรียนที่ 2
เกี่ยวกับบทเรียน
  1. บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนของพหุนาม

                       การคูณและการหารเศษส่วนของพหุนาม

เมื่อมี P , Q , R และ S เป็นพหุนาม โดยที่ Q ≠ 0 และ S ≠ 0 จะได้ว่า                                                             

                                          P/Q×R/S=(P×R)/(Q×S)

เมื่อมี P , Q , R และ S เป็นพหุนาม โดยที่ Q ≠ 0 , R ≠ 0 และ S ≠ 0 จะได้ว่า

                                           P/Q÷R/S=P/Q×S/R

นิยมเขียนผลคูณและผลหารที่ได้ ให้เป็นเศษส่วนของพหุนามในรูปผลสำเร็จ

การคูณเศษส่วนของพหุนาม

ตัวอย่างที่ 1     จงหาค่าของ 4/y×7/(y+1)

วิธีทำ   

4/y×7/(y+1)    =   (4×7)/y(y+1)

                 =   28/y(y+1)

             

ดังนั้น 4/y×7/(y+1) =28/(  y(y+1) )   หรือ  28/(y^2+y)

ตัวอย่างที่ 2  จงหาค่าของ  (3m-n)/2m×n/(6m-2n)

วิธีทำ   

(3m-n)/2m×n/(6m-2n)        =     (3m-n)/2m×n/2(3m-n)  

                                        =    1/2m×n/2

                                        =      n/4m

ดังนั้น      (3m-n)/2m×n/(6m-2n)    =    n/4m

การหารเศษส่วนของพหุนาม

ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ   (〖9x〗^2-4)/4x÷(3x-2)/4

วิธีทำ 

(〖9x〗^2-4)/4x÷(3x-2)/4   =  (〖9x〗^2-4)/4x×4/(3x-2)

                                          =  (3x-2)(3x+2)/4x× 4/(3x-2)

                               (3x+2)/x

 ดังนั้น     (〖9x〗^24)/4x÷(3x-2)/4   =   (3x+2)/x

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ  (〖4n〗^2-12n+9)/36n÷(2n-3)/12

วิธีทำ 

(〖4n〗^2-12n+9)/36n÷(2n-3)/12   =     (2n-3)(2n-3)/(    36n)   ×   12/(2n-3 )

               

                                       =  (2n-3)/(    3n)

 ดังนั้น      (〖4n〗^2-12n+9)/36n÷(2n-3)/12     =(2n-3)/(    3n)

 

ไฟล์ตัวอย่าง
คลิปการสอนคณิตศาสตร์เพิ่มเติม12 สัปดาห์ที่ 14 ม.3.pdf
ขนาด: 104.91 KB