วิทยาศาสตร์ ว15101 ป.5 ภาคเรียนที่ 2

คอร์สที่อยากเรียน Share
Share Course
Page Link
Share On Social Media

เกี่ยวกับคอร์ส

คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี              รายวิชา วิวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2                                     จำนวน 40 ชั่วโมง
3 ชั่วโมง / สัปดาห์                                                                จำนวน – หน่วยกิต
              ศึกษาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของสสาร การเกิดวัฏจักรน้ำกระบวนการเกิดเมฆ หมอก ฝน หิมะและปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติทั่วโลกความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การขึ้นและตก ของดวงอาทิตย์
             โดยใช้ทักษะ การสืบเสาะหาความรู้ สังเกตรวบรวมข้อมูล จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สร้างแบบจำลองและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความคิดสร้างสรรค์สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
Show More

What Will You Learn?

  • การเปลี่ยนแปลงของสาร
  • การใช้น้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ
  • การเกิดปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
  • การเกิดปรากฏการณ์ของดวงดาว
  • วิธีการใช้แผนที่ดาว

About the instructor

Course Curriculum

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สามารถทำให้สสารกลีบคืนสูสภาพเดิมได้ โดยมีอุณหภูมิเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาได้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางกกายภาพ การละลายของสารในน้ำ คือการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสาร เนื่องจากการละลายของสารในน้ำไม่ทำให้เกิดสารใหม่ ซึ่งสารที่สามารถละลายในน้ำได้มีหลายชนิด เช่น เกลือแกง น้ำส้มสายชู การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เป็นการเปลี่ยนแปลงของสารที่ทำให้เกิดสารใหม่ ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม เช่น กลิ่น สี ฟองแก๊ส เกิดตะกอน การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร อาจเกิดจากกระบวนการทางธรรมชาติ หรือการกระทำของมนุษย์ซึ่งหากสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเเล้วสามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นสารเดิมได้เรียกว่าการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ส่วนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วไม่สามารถกลับไปเป็นสารเดิมได้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้

  • แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4 การเปลี่ยนแปลง
  • สัปดาห์ที่ 1 : (ชั่วโมงที่ 1) เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 1 : (ชั่วโมงที่ 2) เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (สารละลายในน้ำ)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 1 : (ชั่วโมงที่ 3) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 2 : (ชั่วโมงที่ 1) การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร
    00:00
  • แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 4 การเปลี่ยนแปลง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แหล่งน้ำและลมฟ้าอากาศ
ศึกษา แหล่งน้ำในท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์ ศึกษาแหล่งน้ำบนโลก แนวทางการใช้น้ำอย่างประหยัด แนวทางการอนุรักษ์น้ำ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ การเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างเเข็ง ส่งผลให้เกิดเป็นวัฏจักรน้ำ

  • แบบทดสอบ (Pre – Test) เรื่องแหล่งน้ำและลมฟ้าอากาศ
  • สัปดาห์ที่ 2 : (ชั่วโมงที่ 2) แหล่งน้ำในท้องถิ่น
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 2 : (ชั่วโมงที่ 3) การใช้น้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 3 : (ชั่วโมงที่ 1) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (ลม)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 3 : (ชั่วโมงที่ 2-3 ) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (เมฆ)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 4 : (ชั่วโมงที่ 1) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (หมอก)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 4 : (ชั่วโมงที่ 2) (ทบทวน) เรื่องแหล่งน้ำในท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 5 : (ชั่วโมงที่ 1-2) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (น้ำค้างและน้ำค้างแข็ง)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 5 : (ชั่วโมงที่ 3) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (หยาดน้ำฟ้า)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 6 : (ชั่วโมงที่ 1) แบบฝึกหัดเรื่อง ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (หยาดน้ำฟ้า)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 6 : (ชั่วโมงที่ 2-3) วัฏจักรน้ำ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 7 : (ชั่วโมงที่ 1-2-3) แบบฝึกหัด เรื่องปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (วัฏจักรน้ำ)
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 8 : (ชั่วโมงที่ 1) (ทบทวน) เรื่องปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ ลมและเมฆ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 8: (ชั่วโมงที่ 2) (ทบทวน) เรื่องปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ หมอก น้ำค้างและน้ำค้างแข็ง
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 8 : (ชั่วโมงที่ 3) (ทบทวน) เรื่องหยาดน้ำฟ้า ฝน หิมะ ลูกเห็บ และวัฏจักรน้ำ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 9 (สอบกลางภาคเรียนที่ 2/2564)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การปรากฏของดวงดาว
การเกิดดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ การบอกทิศ มุมทิศมุมเงย วิธีการใช้งานแผนที่ดาว

  • แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 6 การปรากฏของดวงดาว
  • สัปดาห์ที่ 10 (ชั่วโมงที่ 1 – 3) ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 11 (ชั่วโมงที่ 1-2) ความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 11 (ชั่วโมงที่ 3 ) แบบฝึกหัด ความแตกต่างกาวฤกษ์และดาวเคาระห์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 12 (ชั่วโมงที่ 1-2 ) การกำหนดทิศ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 12 (ชั่วโมงที่ 3) การขึ้น-ตกของดาวฤกษ์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 13 (ชั่วโมงที่ 1) ทบทวน : ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 13 (ชั่วโมงที่ 2) ทบทวน : ความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 13 (ชั่วโมงที่ 3) สอบเก็บคะแนน For 2
  • สัปดาห์ที่ 14 (ชั่วโมงที่ 1-3 ) รูปร่างของกลุ่มดาวฤกษ์
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 15 (ชั่วโมงที่ 1 – 3) แผนที่ดาว
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 16 (ชั่วโมงที่ 1-3) มุมเงย มุมทิศ
    00:00
  • สัปดาห์ที่ 17 ทบทวนบทเรียนก่อนสอบปลายภาค
    00:00

Student Ratings & Reviews

No Review Yet
No Review Yet

Want to receive push notifications for all major on-site activities?