รายการบทเรียน
หน่วยที่ ๓ เรื่องละครไทย
ละครไทยจะต้องมีทักษะในการแสดงที่หลากหลายรูปแบบ ในการสื่อความหมายในการแสดง ละครไทย มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในแต่ละยุค
0/4
หน่วยที่ 4 เรื่องการชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง
การชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง จะต้องวิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร ตลอดจนพัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินการแสดง
0/1
Lesson: บุคคลสำคัญในวงการละครของไทย
About Lesson

ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

  • ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ. ๒๕๒๘
  • เกิดเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖
  • ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา ไชยเชษฐ์ พระไวย ไกรทอง มีฝีมือการรำเป็นเลิศ เชี่ยวชาญเพลงอาวุธทุกชนิด เช่น กระบี่ ทวน กริช เป็นต้น
  • ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ประเภทรำ ได้แก่ อิเหนาฉายกริช มโนห์ราตอนบูชายัญ และได้ประดิษฐ์ท่ารำร่วมกับครูลมุล ยมะคุปต์ ได้แก่ รำพม่าไทยอธิษฐาน รำลาวไทยปณิธาน ลาวกระทบไม้

ครูรงภักดี (เจียร จำรุจรณ)

  • ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ. ๒๕๒๙
  • เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๒
  • เมื่ออายุ ๑๓ ปี ที่กรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ ๖ ต่อมาเข้ารับราชการเป็นศิลปินในกรมมหรสพ
  • สมัยรัชกาลที่ ๗ มีหน้าที่เป็นครูสอนนาฏศิลป์โขน
  • มีความสามารถในการรำเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ซึ่งเป็นนาฏศิลป์สูงสุดได้
  • เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๖ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายรงภักดี ประกอบพิธีครอบองค์พระ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพิธีต่อท่ารำหน้าพาทย์องค์พระพิราพเป็นครั้งที่ ๒ โดยให้ศิลปินต่อท่ารำจากภาพยนตร์ ที่พระองค์บันทึกท่ารำของครูรงภักดีไว้
Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หน่วยที่ ๓ เรื่องละครไทย
ละครไทยจะต้องมีทักษะในการแสดงที่หลากหลายรูปแบบ ในการสื่อความหมายในการแสดง ละครไทย มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในแต่ละยุค
0/4
หน่วยที่ 4 เรื่องการชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง
การชม วิจารณ์ และประเมินคุณภาพการแสดง จะต้องวิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร ตลอดจนพัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินการแสดง
0/1
0% Complete