รายการบทเรียน
หน่วยการเรียนที่ 2 พัฒนาทักษะการเขียน
0/21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาทักษะการฟัง ดู พูด
0/7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วรรณกรรมและนิทานพื้นบ้าน
0/16
เรื่อง คำที่มีหลายความหมายและคำเปรียบเทียบ
0/1
สรุปความรู้กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
0/1
Lesson: ความหมายและหลักการเขียนคำขวัญ สัปดาห์ที่ 5 (ชั่วโมงที่ 2)
About Lesson

คำขวัญ  คือ ข้อความที่แต่งขึ้น เพื่อให้ข้อคิดและค่านิยมที่ดีงามเตือนใจให้ระลึกหรือปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือแสดงลักษณะพิเศษเฉพาะองค์กรใดองค์กรหนึ่ง   อย่างไรก็ดี

            พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายที่กระชับไว้ว่า คำขวัญ คือ ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล 

องค์ประกอบของคำขวัญ   มี 3 ส่วน ได้แก่

ความมุ่งหมายหรือแนวคิด      ข้อความหรือเนื้อหา   ศิลปะแห่งการใช้ถ้อยคำ

การเขียนคำขวัญ มีเขียน 3 แบบ

1.การเขียนแบบคำคล้องจอง คือ การเขียนที่ใช้สระเดียวกัน หรือคำสัมผัสเดียวกัน

2.การเขียนคำขวัญแบบร้อยกรอง คือ การเขียนคำตามแบบบังคับ ของคำประพันธ์ชนิดนั้นๆ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน

3.การเขียนคำขวัญแบบร้อยแก้ว คือการเขียนที่เรียบเรียงขึ้นอย่างไพเราะโดยไม่มีข้อบังคับในเรื่อง          การสัมผัส เอก โท เขียนง่าย

วิชาภาษาไทย สัปดาห์ที่ 5 (ชั่วโมงที่ 2) เรื่อง ความหมายและหลักการเขียนคำขวัญ

ใบความรู้เรื่อง ความหมายและหลักการใช้ภาษาในการเขียนคำขวัญ

Exercise Files
No Attachment Found
No Attachment Found
รายการบทเรียน
หน่วยการเรียนที่ 2 พัฒนาทักษะการเขียน
0/21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาทักษะการฟัง ดู พูด
0/7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วรรณกรรมและนิทานพื้นบ้าน
0/16
เรื่อง คำที่มีหลายความหมายและคำเปรียบเทียบ
0/1
สรุปความรู้กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
0/1
0% Complete