เนื้อหาของคอร์ส
สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน
เยาวชนในชุมชน ว้ยรุ่นทุกคนย่อมพบกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ อันเนื่องมาจากการเจริญเติบโตตามธรรมชาติซึ่งเป็นไปตามวัย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความ สัมพันธ์ระหว่างเพศตรงข้าม เพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน ครอบครัว และต้องยอมรับว่าวัยรุ่น เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกับการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านอารมณ์อย่างมาก เช่น อารมณ์รัก อารมณ์โกรธ อารมณ์ดื้อรั้น เป็นต้น ซึ่งบางครั้งอาจ ทำให้วัยรุ่นขาดการยับยั้งชั่งใจ และแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ อันจะ ก่อให้เกิดความขัดแย้งและความรุนแรงได้ ดังนั้น การเรียนรู้และปรับตัวในด้านต่างๆ จึงจำเป็นมากสำหรับวัยรุ่น ทั้งนี้เพื่อจะได้ สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
0/2
กีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล มีลักษณะการเล่นผสมผสานกันของกีฬ 2 ประเภท คือ เทนนิส และแฮนต์บอล โตยมีนายวิเสียม จี. มอร์แกน เป็นผู้ที่ ริเริ่มคิดขึ้นเพื่อใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการ ผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล
0/2
สุขศึกษาและพลศึกษา พ31102 ม.4 ภาคเรียนที่ 2
เกี่ยวกับบทเรียน

๑. การสร้างสัมพันธภาพที่ดี มนุษย์เราจำเป็นะต้องอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน โรงเรียน ที่ทำงาน

รเรียนรู้ที่จะอยู่หรือทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีสัมพันธภาพที่ดี จะทำให้เกิดความส

มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน การอยู่กับบุคคลอื่นทั้งอยู่ในระดับสูงกว่า ระดับเท่าเทียมกัน และ7

ต่ำกว่าได้อย่างมีความสุขนั้น มีประโยชน์มากมายทั้งต่อตัวเราเอง ต่อบุคคลที่เราเกี่ยวร้อ)

และต่อสถานที่หรือสังคมนั้นๆ ความสุขนี้เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพ (หรือภาวะที่มีความสุy

ดังที่นักเรียนได้เคยเรียนรู้มาแล้วว่า สุขภาพหรือกาวะของความสุขนั้นประกอบด้วยความสุขทา

ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ดังนั้น การอยู่ในสังคมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จึงป็น

ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งที่จะขาดไม่ได้ของการมีสุขภาพดี และสุขภาพดีทางสังคมนั้นเป็นผลมาจาก

หลายปัจจัย ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่สำคัญก็คือ การมีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น

คำว่า สัมพันธภาพที่ดี หมายถึง ภาวะที่มีความผูกพัน เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอาจจะเป็น

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ๒ คน หรือบุคคลหนึ่งกับอีกหลายๆ คน ความผูกพันและความ

เกี่ยวข้องนี้มีความหมายในทางบวก กล่าวคือ สัมพันธภาพที่ดีทำให้บุคคลที่เกี่ยวข้องเกิด

ความสุข ความรู้สึกที่ดีต่อกัน และอยากที่จะคบหาสมาคมกันต่อไปในอนาคต

๑.๑ สัมพันธภาพกับการดำรงชีวิต

สำหรับ

การดำรงชีวิตประจำวันของทุกคนมีกิจกรรมต้องทำมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา

การทำงาน ธุรกิจ การค้าขาย ล้วนจะต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้น สัมพันธภาพจึงเข้ามา

มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต ดังนี้

*) การมีสัมพันธภาพในครอบครัว ดรอบครัวเป็นกลุ่มบุคคลที่อาศัยอยู่ร่วมกัน

ดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน ครอบครัวจึงเป็นสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งที่สุด หลักการสร้างและ

รักษาสัมพันธภาพภายในครอบครัวที่สำคัญ คือ ญาติพี่น้องจะต้องมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน

เคารพในสิทธิและหน้าที่ของกันและกัน ยอมรับความแตกต่าง รวมทั้งหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง

โดยใช้ทักษะในการสื่อสารที่ดี

๒) การมีสัมพันธภาพกับเพื่อน ในช่วงวัยรุ่น เพื่อนจะมีความสำคัญอย่างมาก

เพราะเพื่อนจะมีส่วนร่วมในการดำเนินชีวิตของวัยรุ่นเป็นอันมากและยังร่วมแสดงความรู้สึก

ในทุกอารมณ์ เช่น เมื่อมีความสุข ความทุกข์ ปัญหา หรือดวามเครียด เป็นต้น หลักการสร้าง

และรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเพื่อน คือ จะต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน มีน้ำใจไห้

ยเหลือตามความเหมาะสม รับฟังความคิดเห็นและยอมรับความแตกต่าง และต้องหลึกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้น

การมีสัมพันธภาพทางสังคม สังคมจัดเป็นแหล่งรวมของผู้คนหมู่ม

ค่ายมแตกต่างกันป กรรักษาสัมพันธภาพของสมาชิกในสังคมจึงจำเป็

การพูดคุย การแสดงท่าทางมารยาทต่างๆ ที่ดี และต้องมีความจริงใจ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และ

๑.๒ ประโยชน์ของการมีสัมพันธภาพที่ดี

นธภาพที่ดีระหว่างบุคคลก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการไม่ว่าบุคคลที่เ

จะเป็นใคร เช่น นักเรียนกับเพื่อนนักเรียนชั้นเดียวกัน นักเรียนกับเพื่อนนักเรียนชั้นอื่นๆ นักเรียน

กับครูอาจารย์ นักเรียนกับพ่อแม่ ผู้ปกครองและญาติพี่น้อง เป็นต้น

ประโยชน์ของการมีสัมพันธภาพที่ดี มีดังนี้

มีความราบรื่นในการคบหาสมาคม สัมพันธภาพที่ดีย่อมนำมาซึ่งความรัก

ความสามัคคีกลมเกลียว ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน การคบหาสมาคมระหว่างกันก็ย่อม

จะไม่เกิดปัญหาความขัดแย้ง หรือเกิดการทะเลาะวิวาท และทำให้มิตรภาพคงอยู่ต่อไป

๒) มีความร่วมมือในการทำงานที่ดี งานทุกอย่างจะสำเร็จได้ต้องอาศัยความ

ร่วมมือจากสมาชิกที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในปัจจุบันนักเรียนจำเป็นจะต้องทำงานกลุ่ม หรือ ผู้สอน

ร่วมมือทำกิจกรรมกับนักเรียนห้องอื่นๆ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกกลุ่มย่อมนำมาซึ่งความ

กลมเกลียว แะร่วมอกันทำงานจนประสบผลสำเร็จ ในทางตรงกันข้ามห

ไม่มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันย่อมเป็นสาเหตุให้

ขาดความร่วมมือกัน หรือหากมีความร่วมมือ

ก็ไม่ได้รับความร่วมมืออย่างเต็มที่ ซึ่งจะมีผล

ต่อความสำเร็จของงาน