สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส16101 ป.6 ภาคเรียนที่ 2

เกี่ยวกับคอร์ส
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา สังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1-2
รหัสวิชา ส 16101 เวลา 40 ชั่วโมง
สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียน = 70 : 30 จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต
ศึกษาวิเคราะห์ เรื่องความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ และความสำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ ประวัติศาสดา หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ พิธีกรรมทางศาสนา กฎหมายที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ความหมาย ประเภท การเปลี่ยนแปลง ความแตกต่าง กสนอนุรักษ์วัฒนธรรม ข่าวและเหตุการณ์ การปกครองส่วนท้องถิ่น นักเรียนมีส่วนร่วมในการนำความรู้ไปใช้พัฒนาท้องถิ่นของตนเองเพื่อนำไปสู่กิจกรรมประชาธิปไตย การเลือกตั้ง บทบาทของผู้ผลิตและผู้บริโภค การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ระบบเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ภาษี สิทธิผู้บริโภคและผู้ใช้แรงงาน การร่วมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจ นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับภัยธรรมชาติ ภูมิลักษณ์ที่มีอิทธิพลต่อภูมิสังคมของไทย มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนาในกลุ่มประเทศอาเซียน สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดขึ้น แนวการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ช่วยกันลดปริมาณขยะและสามารถนำขยะมาทำประโยชน์ได้
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล การบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และความสามารถดำเนินชีวิตในสังคมไทยได้อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
ส 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9
ส 1.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4
ส 2.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5
ส 2.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
รวม 21 ตัวชี้วัด
About the instructor
Course Curriculum
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรียนรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์
-
1.บทบาทของผู้ผลิต (สัปดาห์ที่ 1)
00:00 -
2.บทบาทและหน้าที่ของผู้ผลิตที่มีคุณภาพ
00:00 -
3.บทบาทของผู้บริโภค (สัปดาห์ที่ 2)
00:00 -
4.คุณสมบัติของผู้บริโภค
00:00 -
5.คุณค่าและประโยชน์ของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน (สัปดาห์ที่ 3)
00:00 -
6.การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
00:00 -
7.หลักและวิธีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด (สัปดาห์ที่ 4)
00:00 -
8.การสร้างจิตสำนึกของคนในชาติให้รู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด
00:00 -
9.ความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคารและรัฐบาล (สัปดาห์ที่ 5)
00:00 -
10.ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ
00:00 -
11.ภาษีและหน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดเก็บภาษี (สัปดาห์ที่ 6)
-
12.หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดเก็บภาษี
00:00 -
13.สิทธิของผู้บริโภค (สัปดาห์ที่ 7)
00:00 -
14.สิทธิของผู้ใช้แรงงาน
00:00 -
15.สิทธิผู้ใช้แรงงาน ค่าชดเชย (สัปดาห์ที่ 8)
00:00 -
16.การร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในท้องถิ่น
00:00