วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว16101 ป.6 ภาคเรียนที่ 2

เกี่ยวกับคอร์ส
กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร วัฏจักรหิน ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจำวัน การเกิดซากดึกดำบรรพ์ และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมทั้งผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว และสึนามิ ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย แนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดในท้องถิ่น การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สามารถนำไปใช้อธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์พัฒนางานในชีวิตจริงได้ ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดจิตวิทยาศาสตร์และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
ตัวชี้วัด
ว 3.1 ป.6/1 ป.6/2
ว 3.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9
รวม 11 ตัวชี้วัด
Course Curriculum
หินและซากดึกดำบรรพ์
หิน คือ (สัปดาห์ที่ 1)
กระบวนการเกิดหิน (สัปดาห์ที่ 1)
ตัวอย่างหิน (สัปดาห์ที่ 2)
วัฏจักรหิน (สัปดาห์ที่ 2)
ทดสอบความรู้ (สัปดาห์ที่ 3 )
-
04:28
ซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4 )
-
04:02
การเกิดซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 4)
-
04:05
ประโยชน์ของซากดึกดำบรรพ์ (สัปดาห์ที่ 5)
-
00:00
ลม และเครื่องบอกทิศทางลม (สัปดาห์ที่ 6)
-
00:00
ลมบก ลมทะเล (สัปดาห์ที่ 7)
-
00:00