ฟิสิกส์ 8 ว31208 ม.4 ภาคเรียนที่ 2

เกี่ยวกับคอร์ส
ศึกษาวิเคราะห์เรื่อง การเคลื่อนที่ใน 1และ 2 มิติ การบอกตำแหน่ง การกระจัด เวกเตอร์ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง ระยะทาง อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง พร้อมทั้งให้นักเรียนศึกษาเปรียบเทียบความเร็วของรถไฟในแต่ละประเทศในอาเซียน แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน น้ำหนัก กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิคอย่างง่าย
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การคำนวณและการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ทักษะ จิตวิทยาศาสตร์ มีความมุ่งมั่น อดทน รอบคอบ ขยัน ทุ่มเท สนใจ ใฝ่รู้ มีเหตุผล มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ซื่อตรง ประหยัด เรียบง่าย จงรักภักดีและกตัญญู เป็นบุคคลเพื่อผู้อื่น สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สามัคคี สามารถสื่อสารความรู้ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตวัน
ผลการเรียนรู้
- สืบค้นข้อมูลและอธิบายความหมายหน่วยในทางฟิสิกส์ การเปลี่ยนหน่วยและการใช้คำอุปสรรค์ได้
- สืบค้นข้อมูลและอธิบายการหาเวกเตอร์ลัพธ์ในหนึ่งมิติและการบวกลบคูณหารเลขนัยสำคัญได้
- สืบค้นข้อมูล อธิบายและคำนวณการหาอัตราเร็ว ความเร็ว ความเร็วสัมพัทธ์ ความเร่งของอนุภาคหรือวัตถุและทดลองเพื่อหาอัตราเร็วของวัตถุโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
- สืบค้นข้อมูล อธิบายการหาความเร่งของอนุภาคหรือวัตถุ ทดลองเพื่อหาความเร่งของวัตถุและเขียนกราฟของปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ได้
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆและคำนวณหาปริมาณ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกได้
- สำรวจตรวจสอบและจัดกิจกรรมการหาแรงลัพธ์ที่มีแรงมากกว่าหนึ่งแรงมากระทำต่อวัตถุและหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงโดยการสร้างรูปและการคำนวณ
- ทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับความเร่งของวัตถุเมื่อมวลของวัตถุมีค่าคงตัวและระหว่างมวลกับความเร่งเมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุมีค่าคงตัวและสรุปกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ ๒ ของนิวตัน
- สืบค้นข้อมูลและอธิบายถึงกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตันและคำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยนำกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไปประยุกต์ใช้
- อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่และคำนวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
- อธิบายได้ว่า การเคลื่อนที่ในแนววงกลม จะต้องมีแรงกระทำต่อวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง และวัตถุมีความเร่งศูนย์กลาง พร้อมทั้งอธิบายความหมายของคาบและความถี่
- อธิบายความสัมพันธ์และคำนวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้อง ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลางรัศมีวงกลม อัตราเร็วและมวลของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในแนววงกลมและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- อธิบายและคำนวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดความเร็ว และความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของเงาของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนววงกลมในระนาบระดับ
- อธิบายและคำนวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องของการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย และการยืดหยุ่นของสปริงซึ่งมีช่วงการแกว่งแคบ ๆ เป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
รวมทั้งหมด 13 ผลการเรียนรู้
About the instructor
Course Curriculum
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
-
แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
-
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 1 ตอนที่ 1
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 1 ตอนที่ 2
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 2 ตอนที่ 1
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 2 ตอนที่ 2
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 3
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 4
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 5
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 6
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 7
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 8
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 10
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 11 ตอนที่ 1
00:00 -
คลิปการสอนสัปดาห์ที่ 11 ตอนที่ 2
00:00 -
คริปการสอนสัปดาห์ที่ 12
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 13
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 14
00:00
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
-
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 15
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 16
00:00 -
คริปการสอน สัปดาห์ที่ 17
00:00