ดนตรี ศ21102 ม.1 ภาคเรียนที่ 2
เกี่ยวกับคอร์ส
ศึกษา วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ ระบุ ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ บทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย อิทธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม เสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจาวัฒนธรรมที่ต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ความรู้สึกในการฟังดนตรีแต่ละประเภท แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะ และความดัง – เบาแตกต่างกัน สามารถอ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและสากล ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ ใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวัง สร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงที่สนใจโดยแบ่งฝ่ายและหน้าที่ให้จัดเจน นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ อภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้นน่าชื่นชม ประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน
โดยใช้ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการใช้ชีวิต ทักษะกระบวนการสื่อสาร และทักษะกระบวนการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ กล้าคิด กล้าแสดงออกทางศิลปะอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่า ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
About the instructor
Course Curriculum
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดนตรีสากล
-
เรื่องประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ องค์ประกอบ และประเภทของดนตรีสากล (สปที่1) 1-5 พ.ย. 2564
04:42 -
เรื่องเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล (สปที่3) 15-19 พ.ย. 2564
04:31 -
เรื่องการปฏิบัติจังหวะ การอ่าน การเขียน และร้องตามโน้ตสากล (สปที่5) 29 พ.ย. – 3 ธ.ค. 2564
04:36
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เครื่องดนตรีและวงดนตรีสากล
-
เรื่องประเภท เครื่องดนตรีสากล หลักการใช้ และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีสากล (สปที่7) 13-17 ธ.ค. 2564
00:00 -
เรื่องลักษณะของวงดนตรีสากล (สปที่10) 3-7 ม.ค. 2565
00:00
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หลักการร้อง และบรรเลงเพลงสากล
-
เรื่องหลักการร้องเพลงสากล (สปที่12) 17-21 ม.ค. 2565
00:00 -
เรื่องการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล เปียโน (สปที่14) 31 ม.ค – 4 ก.พ. 2565
00:00 -
เรื่องการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง (สปที่16) 14-18 ก.พ. 2565
00:00