คณิตศาสตร์ ค15101 ป.5 ภาคเรียนที่ 2
เกี่ยวกับคอร์ส
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัส ค15101 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง
สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียน : ปลายภาค = 70 : 30 จำนวนหน่วยกิต 4.0 หน่วยกิต
ศึกษา ฝึกทักษะ การคิดคำนวณ และฝึกการแก้ปัญหาในเนื้อหาต่อไปนี้
การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจำ นวนคละ การคูณ การหาร ของเศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำ นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหา เศษส่วนและจำ นวนคละ
ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ แหน่งให้เป็นจำ นวนเต็มหน่วย ทศนิยม 1 ตำ แหน่ง และ 2 ตำ แหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม การคูณทศนิยม การหารทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำ หนัก กิโลกรัมกับกรัม การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวและน้ำ หนักโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับทศนิยมและการเปลี่ยนหน่วย
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางค์ การอ่านและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม การสร้างรูปสี่เหลี่ยม ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง การอ่านกราฟเส้น
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัว ให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าจากการปฏิบัติจริง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการแก้ปัญหา การสื่อสารและ การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และ การคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง รวมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผล เน้นการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยให้สอดคล้องกับบริบท และเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.5/1 เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 หรือ 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม
ค 1.1 ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์
ค 1.1 ป.5/3 หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำนวนคละ
ค 1.1 ป.5/4 หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ
ค 1.1 ป.5/5 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 2 ขั้นตอน
ค 1.1 ป.5/6 หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
ค 1.1 ป.5/7 หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง และตัวหารเป็นจำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยม ไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
ค 1.1 ป.5/8 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 ขั้นตอน
ค 1.1 ป.5/9 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน 2 ขั้นตอน
ค 2.1 ป.5/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม
ค 2.1 ป.5/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม
ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ค 2.1 ป.5/4 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
ค 2.2 ป.5/1 สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้
ค 2.2 ป.5/2 จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป
ค 2.2 ป.5/3 สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม
ค 2.2 ป.5/4 บอกลักษณะของปริซึม
ค 3.1 ป.5/1 ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
ค 3.1 ป.5/2 เขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับ
รวมทั้งหมด 19 ตัวชี้วัด
About the instructor
Course Curriculum
บทที่ 4 บัญญัติไตรยางศ์
-
แบบทดสอบก่อนเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 บทที่ 4 บัญญัติไตรยางศ์ (สัปดาห์ที่ 1 ชั่วโมงที่ 1)
-
– ทบทวนโจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (ชั่วโมงที่ 2)
07:44 -
– โจทย์ปัญหาการคูณของเศษส่วนกับจำนวนนับ (สัปดาห์ที่ 1 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
– การแก้โจทย์ปัญหาโดยการใช้บัญญัติไตรยางศ์ (สัปดาห์ที่ 1 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
– การนำความรู้เกี่ยวกับบัญญัติไตรยางศ์ไปใช้ (สัปดาห์ที่ 2 ชั่วโมงที่ 1)
00:00
บทที่ 5 ร้อยละ
-
– การเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็น 100 (สัปดาห์ที่ 2 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
– การเขียนเศษส่วนในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ (สัปดาห์ที่ 2 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
– ความหมายของร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์จากสถานการณ์ที่กำหนด (สัปดาห์ที่ 2 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
ร้อยละของจำนวนนับ (สัปดาห์ที่ 3 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
ร้อยละของจำนวนนับ (คำนวณโดยใช้เครื่องคิดเลข) (สัปดาห์ที่ 3 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ โดยเขียนร้อยละในรูปเศษส่วนของจำนวนนับ (สัปดาห์ที่ 3 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ (สัปดาห์ที่ 3 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
แบบทดสอบก่อนกลางภาค เรื่อง บัญญัติไตรยางศ์ และร้อยละ (สัปดาห์ที่ 4 ชั่วโมงที่ 1)
-
การแก้โจทย์ร้อยละ (สัปดาห์ที่ 4 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ 2 ขั้นตอน (สัปดาห์ที่ 4 ชั่วโมงที่ 3)
00:00
บทที่ 6 เส้นขนาน
-
เส้นตั้งฉากและการสร้างเส้นตั้งฉาก (สัปดาห์ที่ 5 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน (สัปดาห์ที่ 5 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
เส้นตัดขวางและมุมที่เกิดจากเส้นตัดขวาง ตัดเส้นตรงหือส่วนของเส้นตรงคู่หนึ่งที่ขนานกัน (สัปดาห์ที่ 5 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
เส้นตัดขวางและมุมที่เกิดจากเส้นตัดขวาง ตัดเส้นตรงคู่หนึ่งไม่ขนานกัน (สัปดาห์ที่ 5 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
เส้นขนานและมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง (สัปดาห์ที่ 6 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
สมบัติของเส้นขนานเกี่ยวกับมุมแย้ง (สัปดาห์ที่ 6 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง และการพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง (สัปดาห์ที่ 6 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง และการพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง (สัปดาห์ที่ 7 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
การสร้างเส้นตรงให้ผ่านจุดที่กำหนด ให้ขนานกับเส้นตรงที่กำหนดให้โดยการสร้างให้ระยะห่างเท่ากัน (สัปดาห์ที่ 7 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การสร้างเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงที่กำหนดให้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180 องศา (สัปดาห์ที่ 7 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การสร้างเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงที่กำหนดให้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับมุมแย้ง (สัปดาห์ที่ 7 ชั่วโมงที่ 4)
00:00
บทที่ 7 รูปสี่เหลี่ยม
-
ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม (สัปดาห์ที่ 8 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม (สัปดาห์ที่ 8 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
ลักษณะและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ (สัปดาห์ที่ 8 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (สัปดาห์ที่ 8 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมคางหมูและรูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว (สัปดาห์ที่ 10 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมที่มีเส้นทแยงมุม (สัปดาห์ที่ 10 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมตามกำหนด (สัปดาห์ที่ 10 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า (สัปดาห์ที่ 10 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
ความยาวของฐาน และความสูงของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน (สัปดาห์ที่ 11 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน (สัปดาห์ที่ 11 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแสดงวิธีหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปีกปูน (สัปดาห์ที่ 11 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมูโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (สัปดาห์ที่ 11 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
การหาพื้นที่ของรูปอื่นๆโดยการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (สัปดาห์ที่ 12 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
ความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยม (สัปดาห์ที่ 12 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม (สัปดาห์ที่ 12 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ไม่มีมุมใดเป็นมุมฉาก (สัปดาห์ที่ 12 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม (สัปดาห์ที่ 13 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ไม่มีมุมใดเป็นมุมฉาก (สัปดาห์ที่ 13 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่และความยาวรอบรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน (สัปดาห์ที่ 13 ชั่วโมงที่ 3)
00:00
บทที่ 8 ปริมาตรและความจุ
-
ลักษณะรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ (สัปดาห์ที่ 14 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
ลักษณะส่วนต่างๆของปริซึม (สัปดาห์ที่ 14 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การประดิษฐ์ปริซึม (สัปดาห์ที่ 14 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (สัปดาห์ที่ 14 ชั่วโมที่ 4)
00:00 -
หน่วยของปริมาตรและการหาปริมาตรเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรและลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที่ 15 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
การหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (สัปดาห์ที่ 15 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก(ต่อ) (สัปดาห์ที่ 15 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การหาความจุของปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (สัปดาห์ที่ 15 ชั่วโมงที่ 4)
00:00 -
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยลูกบาศก์เซนติเมตรกับลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที 16 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยลูกบาศก์เซนติเมตรกับลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที 16 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร กับลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที่ 16 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร กับลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที่ 17 ชั่วโมงที่ 1)
00:00 -
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร กับลูกบาศก์เมตร (สัปดาห์ที่ 17 ชั่วโมงที่ 2)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (สัปดาห์ที 17 ชั่วโมงที่ 3)
00:00 -
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (สัปดาห์ที 17 ชั่วโมงที่ 4)
00:00
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
-
ปริมาตรและความจุ
00:00