คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค22102 ม.2 ภาคเรียนที่ 2

คอร์สที่อยากเรียน Share
Share Course
Page Link
Share On Social Media

เกี่ยวกับคอร์ส

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ค22102  คณิตศาสตร์พื้นฐาน                                                                               กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  ภาคเรียนที่ 2                                                        เวลา 60 ชั่วโมง      จำนวน 1.5 หน่วยกิต

 

เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติ ในการนำเสนอข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลจากแผ่นภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของข้อมูล  และแปลความหมาย ผลลัพธ์ รวมทั้งนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริงความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต ความเท่ากันทุกประการของส่วนของเส้นตรง ความเท่ากันทุกประการของมุม ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน-มุม-ด้าน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ มุม-ด้าน-มุม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน และการนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้ปัญหา เส้นขนานและมุมภายใน เส้นขนานและมุมแย้ง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม การให้เหตุผลและแก้ปัญหาโดยใช้สมบัติของเส้นขนานและความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

 

ตัวชี้วัด

1.2            ม.2/2  

ค 2.2            ม.2/1   .2/2   .2/4 

3.1             .2/1

 

รวม 5 ตัวชี้วัด  

Show More

What Will You Learn?

  • ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพ
  • ต้น - ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทั้งนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
  • ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และ
  • ปัญหาในชีวิตจริง
  • ค 2.2 ม.2/2 นำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
  • ค 2.2 ม.2/1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
  • ค 1.2 ม.2/2 เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

About the instructor

Course Curriculum

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สถิติ
แผนภาพจุด (dot plot) เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยใช้จุดแทนจำนวนหรือความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่งโดยทั่วไปใช้วงกลมขนาดเล็ก (•) แทนจุดของข้อมูล การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบ (Stem and leaf plot) เป็นการนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณอีกวิธีหนึ่งที่ทำได้ง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและเข้ใจได้ง่าย โยใช้ข้อมูลทุก ๆ ค่า และแต่ละข้อมูลยังคงสภาพเดิมให้เห็นอย่างชัดเจน ในกรณีที่รวบรวมได้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากการชั่ง ตวง วัด ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง ปริมาณของน้ำนมในขวด สามารถที่จะนำมาเสนอข้อมูลได้อีกแบบหนึ่ง เรียกว่า (histogram) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือค่าเฉลี่ย หมายถึง ค่าที่ได้จากการนำค่าของข้อมูลทุกค่ามาบวกกันแล้วหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด ในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต บางครั้งอาจจะได้ค่าที่ไม่เหมาะสมในการนำไปใช้ หากข้อมูลชุดนั้น มีบางค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าข้อมูลอื่นอย่างผิดปกติ ซึ่งจะทำให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตขิงข้อมูลมีค่ามากหรือน้อยเกินไป และไม่เหมาะที่จะเป็นตัวแทนของข้อมูลชุดนั้น ในกรณีที่ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือเป็นข้อมูลที่บ่งบอกการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เช่น เพศ ศาสนาที่นับถือ ภูมิลำเนา กีฬาที่ชื่นชอบ สาขาวิชาที่เรียน ข้อมูลลักษณะนี้ไม่ใช่จำนวนจึงไม่สามารถจะหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐานได้ นักสถิติจึงคิดวิธีการหาค่ากลางของข้อมูลขึ้นมาอีกลักษณะหนึ่ง โดยพิจารราจากความถี่ของข้อมูล และใช้ข้อมูลที่มีความถี่สูงที่สุดเป็นค่ากลางของข้อมูลชุดนั้น เรียกค่ากลางชนิดนี้ว่า ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จำนวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำนวนข้อมูลค่าเฉลี่ยเลข คณิต ใช้เมื่อข้อมูลมีค่าใกล้เคียงกันและไม่ซ้ำกัน มัธยฐาน คือ ค่ากลางของข้อมูลซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อยแล้วจำนวนข้อมูลที่ น้อยกว่าค่านั้นจะเท่ากับจำนวนข้อมูลที่มากกว่าค่านั้น มัธยฐาน ใช้เมื่อค่ามากสุดมีค่าต่างจากค่าน้อยสุดเยอะมากและเมื่อค่าเฉลี่ยเลขคณิตให้ค่าที่ไม่เหมาะสม ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดนั้น ฐานนิยมใช้เมื่อข้อมูลมีค่าซ้ำกันข้อมูลทางสถิติ บางอย่างสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย แต่ข้อมูลบางอย่างมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก ซึ่งอาจนำไปสู่ ความเข้าใจที่ผิดพลาด ความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นจากการนำเสนอข้อมูลทางสถิติ

  • แบบทดสอบ เรื่อง สถิติ
  • ชั่วโมงที่ 1 เรื่อง แผนภาพจุด (วันที่1–5 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 2 – 3 เรื่อง แผนภาพต้น – ใบ (วันที่1–5 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 4 – 5 เรื่อง ฮิสโทแกรม (วันที่8–12 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 6 – 7 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (วันที่8–12 พ.ย. 64) และ (วันที่15–19 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 8 – 9 เรื่อง มัธยฐาน (วันที่ 15–19 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 10 – 11 เรื่อง ฐานนิยม (วันที่22–26 พ.ย. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 12 – 13 เรื่อง การเลือกและการใช้ค่ากลางของข้อมูล (วันที่22–26 พ.ย. 64) และ (วันที่29–3 ธ.ค. 64)
    00:00

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความเท่ากันทุกประการ

  • แบบทดสอบ เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ
  • ชั่วโมงที่ 14 เรื่อง ทบทวนความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน (วันที่29–3 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 15 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต (วันที่29–3 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 16 – 17 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม (วันที่6–10 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 18 – 19 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบด้าน มุม ด้าน (วันที่6–10 ธ.ค. 64) และ (วันที่13–17 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 20 – 21 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบมุม ด้าน มุม (วันที่13–17 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 22 – 23 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบด้าน ด้าน ด้าน (วันที่20–24 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 24 – 25 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบมุม มุม ด้าน (วันที่20–24 ธ.ค. 64) และ (วันที่27–30 ธ.ค. 64)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 26 – 27 เรื่อง ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบฉาก ด้าน ด้าน (วันที่27–30 ธ.ค. 64)
    00:00

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เส้นขนาน

  • ชั่วโมงที่ 28 เรื่อง ทบทวนความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน (วันที่4– 7 ม.ค. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 29 – 30 เรื่อง เส้นขนานกับมุมภายใน (วันที่4–7 ม.ค. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 31 – 32 เรื่อง เส้นขนานกับมุมแย้ง (วันที่10–14 ม.ค. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 33 – 34 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (วันที่10–14 ม.ค. 65) และ (วันที่17–21 ม.ค. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 35 – 37 เรื่อง เส้นขนานกับรูปสามเหลี่ยม (วันที่17–21 ม.ค. 65) และ (วันที่24–28 ม.ค. 65)
    00:00

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต

  • ชั่วโมงที่ 38 เรื่อง ทบทวนความรู้ก่อนเรียน (วันที่24–28 ม.ค. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 39 – 40 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต (ประโยคเงื่อนไข) (วันที่24–28 ม.ค. 65) และ (วันที่31–4 ก.พ. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 41 – 42 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิต (บทกลับของประโยคเงื่อนไข) (วันที่31–4 ก.พ. 65)
    00:00

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

  • ชั่วโมงที่ 43 เรื่อง ทบทวนความรู้ก่อนเรียน (วันที่7–11 ก.พ. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 44 – 45 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง (วันที่7–11 ก.พ. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 46 – 47 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว (วันที่14–18 ก.พ. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 48 – 49 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ (วันที่14–18 ก.พ. 65) และ (วันที่21–25 ก.พ. 65)
    00:00
  • ชั่วโมงที่ 50 – 51 เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวที่เป็นผลต่างกำลังสอง (วันที่21–25 ก.พ. 65)
    00:00

Student Ratings & Reviews

No Review Yet
No Review Yet

Want to receive push notifications for all major on-site activities?